กระสวย
ชื่ออื่นๆ : จังนัง (สุรินทร์) ดำบิดดง (ระนอง) คันจ้อง, คันจอง (อุบลราชธานี)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : ลำบิดดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyors filipenduly pierre ex lecomte
ชื่อวงศ์ : EBENACEAE
ลักษณะของกระสวย
ต้น ไม้ต้นสูงถึง 12 เมตร ไม่ผลัดใบ เปลือกสีเทาปนน้ำตาล
ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ ใบรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน แผ่นใบบางมีขนนุ่ม
ดอก ดอกสีเหลืองอ่อน ดอกแยกเพศต่างต้นกัน
ผล ผลสอแบบมีสีเนื้อหลายเมล็ดทรงกลม ผลอ่อนมีขนนุ่ม ผลแก่ ผิวเกลี้ยง มีนวลสีขาว

การขยายพันธุ์ของกระสวย
ใช้เมล็ด/เมล็ดเกิดง่ายตามทุกฤดู
ธาตุอาหารหลักที่กระสวยต้องการ
ประโยชน์ของกระสวย
ยอดอ่อนและผล รับประทานได้ มีรสฝาดหวาน เนื้อไม้ทำฟืน
สรรพคุณทางยาของกระสวย
เป็นสมุนไพร แก้เจ็บท้อง แก้บิด รากผลแก้สมานแผล หรือแก้ไข้ ใช้เป็นยากำเย็น
คุณค่าทางโภชนาการของกระสวย
การแปรรูปของกระสวย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10262&SystemType=BEDO
www.flickr.com